"คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทำให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อื่นๆ"
เป้าหมายการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
เป้าหมายการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
- เข้าใจเนื้อหาที่เป็นพื้นฐาน เพื่อเรียนรู้วิชาอื่น เช่น
วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ พันธุกรรมศาสตร์ อย่างเช่น ความน่าจะเป็นมาใช้ในการวิเคราะห์ศึกษาพันธุกรรมของเมล็ดถั่ว ในทางชีววิทยาใช้เลขยกกาลังในการกำหนดหน่วยความยาวของดีเอ็นเอ (DNA) อัตราส่วนและยกกาลังไปใช้ในการหาดัชนี มวลกายของคน เพื่อวิเคราะห์และศึกษาภาวการณ์สะสมไขมันตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย การแปรเปลี่ยนของอุณหภูมิ แผนที่ทางอากาศบอกช่วงเวลา
เศรษฐศาสตร์ อย่างเช่น วิธีการอ่านกราฟและฟังก์ชัน การหาดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาด เรียนรู้วิธีการตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุดของผู้บริโภคและผู้ผลิต
การงานอาชีพ ศิลปะ อย่างเช่น อัตราส่วนการปรุงอาหาร การประกอบอาชีพ การออกแบบ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสาร การเขียนโปรแกรมฯ การประมาณขนาดรูปร่างในการวาดภาพ มองโครงสร้างโมเดลจำลองในการสร้างประติมากรรม การเปรียบเทียบขนาดรูปร่างทางเรขาคณิต(พื้นที่ / ปริมาตร)
สังคม ประวัติศาสตร์ อย่างเช่น การบอกเวลา ระยะทาง บอกค่าเงิน(การแปลงค่าเงิน / การซื้อขายแลกเปลี่ยน) การคำนวณปีจากอดีต-ปัจจุบัน(พ.ศ. / ค.ศ.) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ การออกแบบภูมิปัญญา(ปัญญาประดิษฐ์) การคำนวณความกว้างของแม่น้ำ การสร้างที่อยู่อาศัย ฤดูกาล
สุขศึกษา พลศึกษา อย่างเช่น การคำนวณค่าดัชนีมวลร่างกาย(BMI) การบอกค่าพลังงานจากสารอาหาร การวัดขนาดร่างกาย (น้ำหนัก / ส่วนสูง) การนับการเต้นของหัวใจ
- พัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา การมองเห็นรูปแบบ (Pattern) การสร้างภาพในสมอง การให้เหตุผล การสื่อสาร เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาด้วยวิธีที่หลากหลาย
เศรษฐศาสตร์ อย่างเช่น วิธีการอ่านกราฟและฟังก์ชัน การหาดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาด เรียนรู้วิธีการตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุดของผู้บริโภคและผู้ผลิต
การงานอาชีพ ศิลปะ อย่างเช่น อัตราส่วนการปรุงอาหาร การประกอบอาชีพ การออกแบบ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสาร การเขียนโปรแกรมฯ การประมาณขนาดรูปร่างในการวาดภาพ มองโครงสร้างโมเดลจำลองในการสร้างประติมากรรม การเปรียบเทียบขนาดรูปร่างทางเรขาคณิต(พื้นที่ / ปริมาตร)
สังคม ประวัติศาสตร์ อย่างเช่น การบอกเวลา ระยะทาง บอกค่าเงิน(การแปลงค่าเงิน / การซื้อขายแลกเปลี่ยน) การคำนวณปีจากอดีต-ปัจจุบัน(พ.ศ. / ค.ศ.) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ การออกแบบภูมิปัญญา(ปัญญาประดิษฐ์) การคำนวณความกว้างของแม่น้ำ การสร้างที่อยู่อาศัย ฤดูกาล
สุขศึกษา พลศึกษา อย่างเช่น การคำนวณค่าดัชนีมวลร่างกาย(BMI) การบอกค่าพลังงานจากสารอาหาร การวัดขนาดร่างกาย (น้ำหนัก / ส่วนสูง) การนับการเต้นของหัวใจ
- พัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา การมองเห็นรูปแบบ (Pattern) การสร้างภาพในสมอง การให้เหตุผล การสื่อสาร เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาด้วยวิธีที่หลากหลาย
Mind mapping (สาระการเรียนรู้)
- ครู -
หน่วย : Mathematics in daily life 1
ภูมิหลัง(ทำไมจึงใช้เนื้อนี้สอนใน Quarter นี้ ?) :
เป้าหมายความเข้าใจ : นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการหาปริมาตรของรูปทรงเรขาคณิต 3 มิติ และได้ทบทวนที่มาของแต่ละสูตรในการปริมาตร สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
สาระการเรียนรู้ Quarter 1/2559
|
มาตรฐานตัวชี้วัด
|
ทักษะ
|
คุณลักษณะ
|
สาระที่ 2-3 : การวัด/เรขาคณิต
- ประดิษฐ์ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย ปริซึมและพีรมิดจากรูปคลี่ หรือรูปเรขาคณิตสองมิติ และสามารถอธิบาความสัมพันธ์ได้
สาระที่ 6 : ทักษะและกระบวนการคิดคณิตฯ
|
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด
วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด : ตัวชี้วัด ม.3/1,
ม.3/2, ม.3/3, และ ม.3/4
ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, และ ม.3/6
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด
วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด : ตัวชี้วัด ม.3/3,
และ ม.3/4
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ : ตัวชี้วัด ม.3/1
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจการวัด และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
: ตัวชี้วัด ม.3/1มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, และ ม.3/6 |
· การแก้ปัญหา
· ความรู้สึกเชิงจำนวน · การมองเห็นภาพ · การสื่อสาร · ทำงานร่วมกับผู้อื่น · ทักษะการประมาณค่า · ทักษะการจัดการข้อมูล · ทักษะการคิด · ทักษะICT · การรู้ตัว |
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- เคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปันและมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น - มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ |
ปฏิทินและวิเคราะห์มาตรฐานการจัดกิจกรรมวิชาคณิตศาสตร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 Quarter 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|||||||||
1
|
โจทย์ : ทบทวน
Key Questions :
- นักเรียนมีวิธีการคิดอย่างไร?
- นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเรื่องเดิมอะไรบ้าง?
ต้องการเรียนรู้เรื่องไหนเพิ่มเติมบ้าง?
เครื่องมือคิด :
- Show
and Share
- Brain storm
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกม 180 IQ
-
ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ จุด เส้น และระนาบ
-
วิเคราะห์รูปภาพที่เกิดขึ้น ในมิติต่างๆ
- วิเคราะห์โจทย์ปัญหา ทบทวนโจทย์ สามเหลี่ยม
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านมา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเรื่องเดิมอะไรบ้าง? ต้องการเรียนรู้เรื่องไหนเพิ่มเติมบ้าง?
-
นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้ (ก่อนเรียน)
|
ภาระงาน
- หาวิธีคิดที่แตกต่าง
- ทำสรุปความเข้าใจก่อนเรียนคณิตศาสตร์
ชิ้นงาน
- ใบงาน /
โจทย์การคิด
- สรุปความเข้าใจ
(ก่อนเรียน)
|
ความรู้ -
นักเรียนเข้าใจและได้ทบทวนทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
เพื่อนำมาใช้ในการแก้ปัญหาและต่อยอดการเรียนรู้
รวมทั้งนักเรียนนำมาความรู้มาปรับใช้ได้จริง
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการคิดวิเคราะห์
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
|||||||||
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, และ
ม.3/6
|
|||||||||||||
2 - 5
|
โจทย์ : พื้นที่ผิวและปริมาตร
-
ปริซึม พีระมิด
Key Questions :
-
นักเรียนเห็นรูปทรงเรขาคณิตที่ในชีวิตประจำวันได้ที่ไหนบ้าง
และเกี่ยวข้องกับชีวิตเราอย่างไร
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่ารูปปริซึมฐานสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม
และหกเหลี่ยม ประกอบด้วยเรขาคณิตอะไรบ้าง?”
- “จากรูปนักเรียนจะหาพื้นที่ผิวและปริมาตรได้อย่างไร?”
เครื่องมือคิด :
- Show
and Share
- Brain storm
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- รูปเรขาคณิต
- โจทย์ปัญหา
|
- ครูให้นักเรียนดูรูปทรงเรขาคณิต
3 มิติ
-
นักเรียนเห็นรูปทรงเรขาคณิตที่ในชีวิตประจำวันได้ที่ไหนบ้าง
และเกี่ยวข้องกับชีวิตเราอย่างไร
- ครูให้นักเรียนดูปริซึม
- ครูใช้คำถามกระตุ้น
“จากปริซึมแต่ละประเภทนักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง?”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่ารูปปริซึมฐานสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม
และหกเหลี่ยม ประกอบด้วยเรขาคณิตอะไรบ้าง?”
- “จากรูปนักเรียนจะหาพื้นที่ผิวและปริมาตรได้อย่างไร?”
- นักเรียนร่วมกันเสนอวิธีคิดให้เพื่อและครูฟัง
- วิเคราะห์ภาพคลี่ของปริซึม
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
จากรูปนักเรียนมีวิธีหาพื้นที่ผิวข้างและปริมาตรได้อย่างไรบ้าง
-
นักเรียนนำเสนอวิธีคิด
แสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- ครูให้โจทย์ท้าทายมากยิ่งขึ้น
-
นักเรียนเลือกรูปทรงปริซึมมาวัดขนาดหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
- ครูให้โจทย์ท้าทายมากยิ่งขึ้น
-
วิเคราะห์โจทย์ปัญหา และออกแบบโจทย์ประยุกต์
-
นักเรียนเลือกออกแบบรูปทรงพีระมิดแล้วนำมาวัดขนาดหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
|
ภาระงาน
- การวิเคราะห์รูปเรขาคณิต
- การแสดงความคิดเห็นและตอบคำถาม
- การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา
และออกแบบโจทย์ประยุกต์
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์พาพื้นที่ผิว และปริมาตรปริซึม พีระมิด
-
สรุปความเข้าใจพื้นที่ผิว และปริมาตรปริซึม พีระมิด
-
ออกแบบรูปทรงพีระมิด
|
ความรู้
- นักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานรูปทรงสามมิติและการสร้างโจทย์ประยุกต์ขึ้นใหม่ด้วยตัวเอง
ทักษะ
-
ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์- ทักษะการคิดเชื่อมโยง
-
ทักษะการสื่อสาร
-
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
|||||||||
มาตรฐาน
ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด
วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด : ตัวชี้วัด ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, และ ม.3/4
มาตรฐาน
ค 3.1 เข้าใจรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ : ตัวชี้วัด
ม.3/1
มาตรฐาน
ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา
การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ
การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ม.3/1, ม.3/2,
ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5,
และ ม.3/6
|
|||||||||||||
6
- 7
|
โจทย์ : พื้นที่ผิวและปริมาตร
-
ทรงกระบอก
- ทรงกรวย
Key Questions :
-
นักเรียนคิดว่าหากจะต้องใช้แก้วน้ำตักน้ำเติมเหยือกน้ำให้เต็มจะต้องตักกี่ครั้ง?
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มมีวิธีการออกแบบรูปทรงกระบอกฐานวงกลมอย่างไร? มีกี่วิธี?
-
นักเรียนสามารถสร้างโจทย์ปัญหาสถานการณ์เกี่ยวกับทรงกระบอกอย่างไรบ้าง?
เครื่องมือคิด :
- Show and Share
- Brainstorm
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ภาพปริซึมประเภทต่างๆ
- เหยือกน้ำรูปทรงกระบอก
- แก้วน้ำ
- ปริซึมทรงกระบอกฐานวงกลม
- โจทย์ปัญหา
|
- ครูให้นักเรียนดุสิ่งของต่างๆ
- ครูใช้คำถามกระตุ้น “จากสิ่งของเหล่านี้นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง?
-
นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็น
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าหากจะต้องใช้แก้วน้ำตักน้ำเติมเหยือกน้ำให้เต็มจะต้องตักกี่ครั้ง?
-
นักเรียนร่วมกันทดลอง “ตักน้ำใส่เหยือก” กิจกรรมที่มองเห็นความสัมพันธ์ของปริมาตร
-
ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม “นักเรียนคิดว่าถ้าเรานำทรงกระบอกว่าคลี่ออกจะเป็นอย่างไร?”
-
นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ภาพคลี่ของปริซึมทรงกระบอกฐานวงกลมว่ามีรูปร่างเป็นอย่างไร? สามารถออกแบบสร้างทรงกระบอกจากรูปรูปคลี่ได้กี่แบบ?
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“จากรูปนักเรียนจะหาปริมาตรได้อย่างไร?”
-
นักเรียนนำเสนอวิธีคิด
แสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- ครูให้โจทย์ท้าทายมากยิ่งขึ้น
-
นักเรียนเลือกรูปทรงปริซึมมาวัดขนาดหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
- ครูให้โจทย์ท้าทายมากยิ่งขึ้น
-
วิเคราะห์โจทย์ปัญหา และออกแบบโจทย์ประยุกต์
- นักเรียนร่วมกันคิดโจทย์ปัญหาและออกแบบโจทย์ประยุกต์
สร้างโจทย์ให้ขึ้นมาด้วยตัวเอง
|
ภาระงาน
-
ร่วมวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับทรงกระบอก
- ร่วมทดลองพร้อมบันทึกผลในกิจกรรม “ตักน้ำใส่เหยือก”
- วิเคราะห์ภาพคลี่ของปริซึมทรงกระบอกฐานวงกลม
- วิเคราะห์โจทย์ปัญหา
และออกแบบโจทย์ประยุกต์
ชิ้นงาน
- สมุดทดคิด
บันทึกกระบวนการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา
- โจทย์ประยุกต์เกี่ยวกับทรงกระบอก
- บันทึกกิจกรรมลงในสมุด
|
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของทรงกระบอก
ทรงกรวย และการสร้างโจทย์ประยุกต์ขึ้นใหม่ด้วยตัวเอง
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการคิดเชื่อมโยง
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
|||||||||
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด : ตัวชี้วัด ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, และ
ม.3/4
มาตรฐาน ค 2.3 เข้าใจใช้ความรู้เกี่ยวกับการหาความยาวและพื้นที่ของวงกลม การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของรูปทรงสามมิติในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง
ๆได้:ตัวชี้วัด ม.3/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, และ
ม.3/6
|
|||||||||||||
8
- 9
|
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ปริซึมประเภทต่างๆ
- ภาพปริซึมประเภทต่างๆ
- รูปทรงกระบอก ทรงกรวย
- แก้วน้ำ
|
|
- บันทึกกิจกรรมลงในสมุด
|
-
ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการเห็นแบบรูป
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
-
ทักษะการคิดเชื่อมโยง
-
ทักษะการสื่อสาร
-
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
-
มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
|
|||||||||
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, และ
ม.3/6
|
|||||||||||||
10 - 11
|
|
|
|
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการเห็นแบบรูป
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการคิดเชื่อมโง
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
|
|||||||||
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, และ
ม.3/6
|